Article 112: Thai Lese Majeste Law Awareness Campaign
Context:
The number of those accused and prosecuted on charges of lese majeste, Article 112 of the Thai criminal code, has shown a shocking increase over the past five to six years. From 1992 to 2004, there was less than an average of less 10 cases of lese majeste tried in Thai courts, and thus the law’s effect was limited to a rather narrow circle. Recent scholarship indicates that from 2005 to 2009 there were 547 cases of lese majeste sent to trial on the Court of First Instance, the Appeals Court, and the Supreme Court levels—an average of 109 cases per year—during which 274 judgments were handed down for lese majeste. In 2009, there were an all-time high 164 lese majeste cases tried in the Court of First Instance. It is therefore necessary for the issue of lese majeste to be highlighted and made into a public issue in the hope that eventually there will be a change in this law.
Rationale:
The purpose of establishing the Article 112 Lese Majeste Awareness Campaign is to bring together individuals, organizations, and networks concerned about problems caused by Article 112 and its use. The position of the Article 112 Campaign is simply to make Article 112 a public issue. We believe that Article 112 (and its use) poses a serious threat to the right of freedom of expression and as such it cripples a key mechanism necessary for any democratic society. Regardless of whether one is wanting to amend or abolish the law, or even whether one supports the law but is concerned by the effects of its use, all are welcome to join the Article 112 Awareness Campaign.
The Thai and English name of the campaign differs as one is aimed at a national audience while the other focuses on an international audience. The Thai name is essentially the “Article 112 Awareness Campaign.” In English, it is the “Article 112: Thai Lese Majeste Law Awareness Campaign.”
The campaign begins with signatures from 112 persons, both foreign and Thai, from a wide variety of professions and positions—those involved in the media and law, academics, students, human rights activists, artists, those affected by the law, agriculturalists, those involved in religion, doctors, police, and so on. These 112 would help kick-off the campaign, but the campaign will maintain a list of any who share the belief that Article 112 needs to be addressed publicly.
Campaign Objectives:
1. in order to build and disseminate knowledge and understanding about the lese majeste law
2. in order to encourage debate, exchange, and solutions posed by the lese majeste law and its use
Campaign Kick-Off:
The hope is to kick-off the Article 112 Awareness Campaign in conjunction with an academic forum planned by the Rule of Law Group on 27 March 2011 at the Thai Prajan campus of Thammasart University (time to be determined). The event will be used to make a public announcement of the names of the 112 “charter members” (and any others) who are willing to publicly show support for the campaign. As there may be some of the 112 charter members who cannot attend, we ask for the attendance of anyone who can come. Those actually attending will be asked to donate 300 baht to the effort, and the first 112 persons attending the event will receive tee-shirts showing the Article 112 Awareness Campaign logo.
แคมเปญ “มาตรา 112: การรณรงค์เพื่อตื่นรู้”
(Article 112: Awareness Campaign)
ที่มา
ตัวเลขผู้ถูกกล่าวหาและดำเนินคดีด้วยข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112เพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจในช่วง 5 – 6 ปีที่ผ่านมา งานศึกษาของเดวิด สเตร็กฟัสพบว่าเฉพาะเคสที่เป็นคดีในชั้นศาล ปี 2005สูงถึง 111 คดี จากเดิม 10 คดี ในปี 1992 แต่กระนั้นการรับรู้เกี่ยวกับปัญหาของกฎหมายดังกล่าวยังถูกจำกัดอยู่ในวงแคบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องขยายประเด็นดังกล่าวให้กลายเป็นประเด็นสาธารณะเพื่อหวังว่าในที่สุดจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงกฏหมายนี้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายหมิ่นฯ
2. เพื่อผลักดันให้เกิดการถกเถียง แลกเปลี่ยน และหาทางออกเกี่ยวกับกฎหมายหมิ่นฯ
รูปแบบกิจกรรมเบื้องต้น
เปิดตัวแคมเปญ “มาตรา 112: รณรงค์เพื่อตื่นรู้” หรือชื่อภาษาอังกฤษ “Article 112: Awareness Campaign” โดยขอจัดต่อจากเวทีวิชาการเรื่องกฏหมายหมิ่นฯของกลุ่มนิติราษฎร์ วันที่ 27 มีนาคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (เวลาจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง)
ในงานจะมีการแถลงรายชื่อ 112 รายจากหลากสาขาอาชีพ เพื่อเสนอให้เกิดการถกเถียง แลกเปลี่ยนและหาทางออกในเรื่องกฎหมายหมิ่นฯ (เป็นจุดยืนพื้นฐานที่มีร่วมกัน เนื่องจากการรณรงค์นี้ต้องการสนทนากับสาธารณชนเป็นหลัก จึงเปิดกว้างมากกว่าที่จะชูธงให้ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายหมิ่นฯเพียงทางใดทางหนึ่ง แต่หากใครสนใจที่จะทำในแนวทางใดนอกจากนี้ สามารถทำได้ ถือเป็นแนวทางส่วนตัว ไม่ปิดกั้น)
สาขาวิชาชีพ ได้แก่ สื่อมวลชน นักกิจกรรม/ นักศึกษา แรงงาน นักกฏหมาย/นักสิทธิมนุษยชน (อดีต)ศาล ศิลปิน นักวิชาการ ผู้ได้รับผลกระทบจากกหมายหมิ่นฯ เกษตรกร กลุ่มศาสนา กลุ่มอื่นๆเช่น หมอ ตำรวจ ทหาร ฯลฯ (หมวดวิชาชีพละประมาณ 10 คน)
กรุณาแจ้งรายชื่อมาที่ article112lm@gmail.com ทั้ง 112 คนนี้จะร่วมสมทบทุนโดยจ่ายขั้นต่ำ 300 บาท พร้อมรับเสื้อยืดรณรงค์ 1 ตัว
*หมายเหตุ: 112 คนแรก ใช้เพื่อแสดงตัวตนในการเปิดตัว ไม่ปิดกั้นสำหรับคนที่สนใจจะเข้ามาร่วมในภายหลัง
มาตรา 112: รณรงค์เพื่อความตระหนักรู้
บริบทสถานการณ์
ตัวเลขผู้ที่ถูกกล่าวหาและถูกดำเนินคดีข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากในระยะเวลาห้าถึงหกปีที่ผ่านมา ในระหว่างปี 2535 – 2547 ตัวเลขของคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่มีการฟ้องร้องกันในศาลเฉลี่ยแล้วมีน้อยกว่า 10 คดี ดังนั้นผลกระทบจากกฎหมายดังกล่าวจึงยังจำกัดอยู่ในวงแคบ แต่ผลการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ชี้ให้เห็นว่า ระหว่างปี 2548 – 2552 ตัวเลขของคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพมีมากถึง 547 คดี ที่ถูกนำไปพิจารณาคดีทั้งในระดับศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา เฉลี่ยแล้วปีละ 109 คดี และมีศาลมีคำตัดสินแล้วจำนวน247 คดี (หมายถึงตัดสินว่าผิดกม.หมิ่นใช่ไหมคะ) ในปี 2547 เพียงปีเดียวมีการดำเนินคดีข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในระดับศาลชั้นต้นมากถึง 164 คดี ดังนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเน้นย้ำให้กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานนุภาพเป็นประเด็นสาธารณะด้วยหวังว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายดังกล่าวในท้ายที่สุด
หลักการและเหตุผล
จุดประสงค์ของการริเริ่มการรณรงค์เพื่อความตระหนักรู้ในกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ คือ การรวบรวมบุคคล องค์กร และเครือข่ายต่างๆ ที่มีความห่วงกังวลต่อปัญหาที่เกิดจากกฎหมายอาญามาตรา 112 และการบังคับใช้กฎหมาย ท่าทีของการรณรงค์ครั้งนี้คือ สร้างให้กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นประเด็นสาธารณะ พวกเรามีความเห็นว่ากฎหมายอาญามาตรา 112 และการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวเป็นปัจจัยคุกคามต่อสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกซึ่งสิทธิดังกล่าวเป็นกลไกที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อสังคมประชาธิปไตย ไม่ว่าบุคคลนั้นจะต้องการแก้ไข หรือยกเลิก หรือแม้แต่สนับสนุนกฎหมายดังกล่าวก็สามารถเข้าร่วมการรณรงค์เพื่อความตระหนักรู้ในกฎหมายอาญามาตรา 112 ได้ เพียงแต่บุคคลนั้นสนใจถึงผลกระทบที่ตามมาจากการใช้กฎหมายดังกล่าว
ชื่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษของการรณรงค์ครั้งนี้จะแตกต่างกัน เพราะชื่อภาษาไทยนั้นมุ่งไปที่ผู้รับสารภายในประเทศ ในขณะที่ชื่อภาษาอังกฤษนั้นมุ่งไปที่ผู้รับสารในระดับระหว่างประเทศ โดยชื่อภาษาไทย คือ มาตรา 112: การรณรงค์เพื่อความตระหนักรู้ และชื่อภาษาอังกฤษ คือ มาตรา 112 การรณรงค์เพื่อความตระหนักรู้ในกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพของไทย
การรณรงค์จะเปิดตัวด้วยการแถลงรายชื่อบุคคลจากหลากหลายสาขาอาชีพทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ จำนวน 112 คน ซึ่งรวมถึง สื่อมวลชน นักกฎหมาย นักวิชาการ นักเรียน นักสิทธิมนุษยชน ศิลปิน ผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากกฎหมายดังกล่าวเกษตรกร ผู้ที่อยู่ในแวดวงทางศาสนา แพทย์ และเจ้าหน้าที่ตำรวจ โดยบุคคลทั้ง 112 คนนี้จะเป็นจุดเริ่มต้น อย่างไรก็ตามยินดีรับรายชื่อเพิ่มเติมจากผู้ที่เห็นพ้องแนวคิดว่า มาตรา 112 นั้นควรได้รับการถกเถียงกันในที่สาธารณะ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายหมิ่นฯ
2. เพื่อผลักดันให้เกิดการถกเถียง แลกเปลี่ยน และหาทางออกเกี่ยวกับกฎหมายหมิ่นฯ
รูปแบบกิจกรรมเบื้องต้น
เปิดตัวการรณรงค์ มาตรา 112: รณรงค์เพื่อความตระหนักรู้ โดยขอจัดต่อจากเวทีวิชาการเรื่องกฎหมายหมิ่นฯของกลุ่มนิติราษฎร์ วันที่ 27 มีนาคม 2554 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (เวลาจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง) ในงานดังกล่าวจะมีการแถลงรายชื่อบุคคล 112 คน หรือใครก็ตาม ที่ยินดีจะแสดงตนต่อสาธารณะว่าสนับสนุนการรณรงค์ในครั้งนี้ และอาจจะมีบุคคลผู้ร่วมลงชื่อบางคนที่ไม่สามารถเข้าร่วมงานในวันดังกล่าวได้ เราจึงขอเชิญให้ทุกท่านที่สามารถมาได้เข้าร่วมงาน ผู้ที่สามารถมาร่วมงานเปิดตัวได้จริงจะต้องจ่ายเงิน 300 บาทเพื่อเป็นทุนสนับสนุนการทำงาน และบุคคล 112 ท่านแรกที่เข้าร่วมการรณรงค์จะได้รับเสื้อยืดที่มีโลโก้ของการณรงค์เป็นที่ระลึก
Anocha Suwichakornpong | Film director |
Apichatpong Weerasethakul | Film director |
Lee Chatametikool | Film director |
Thunska Pansittivorakul | Filmmaker |
Wisit Sasanatieng | Film director |
Paisit Panpruegsachart | Film director |
Khamsing Srinawk | Writer |
Kanchat Rangseekanson | Freelance writer&Film study lecturer |
Karnt Thassanaphak | Writer/Artist |
Kiattisak Pratanang | Writer/Translator |
Lakkana Punwichai | Writer |
Pakkavadee Veerapaspong | Translator/Writer |
Pimjai Juglin | Writer |
Praguy Prachya | Poet/Writer |
Santhipharp Khamsa-ard (Dr.) | Lecturer/Writer/Local museum manager |
Sarinee Achavanuntakul | Writer/Independent scholar |
Somjet Chaikerd | Writer |
Sulak Sivaraksa | Writer/Social Critic |
Surak Suksaewee | Lyricist/Writer |
Wat Wanlayangkun | Writer |
Chaiyut Pannoi | Trade Unionist |
Chumpol Phumpan | Trade Unionist |
Jittra Cotchadet | Trade Unionist |
Nanpapas Keawthong | Trade Unionist |
Praworn Mardee | Trade Unionist |
Promma Phumpan | Trade Unionist |
Sirichai Singhatiss | Trade Unionist |
Somwhang Pothongkam | Trade Unionist |
Sopon Chaiyasan | Trade Unionist |
Vipa Matchachat | Try Arm worker |
Kadkeaw Meesri | Trade Unionist |
Kittibhum Juthasmith (MD.) | Doctor |
Pongsak Phusitsakul (MD.) | Doctor |
Teerawat Tussanapirom (DDS.) | Department of Community Dentistry, Faculty of Dentistry, Mahidol University |
Anon Numpa | Lawyer |
Pawinee Chumsri | Lawyer |
Prawais Prapanukul | Lawyer |
Sirikan Charoensiri | Lawyer |
Somsakul Srimethakul | Lawyer |
Yaowalak Anuphan | Lawyer |
Yuhanee Jehka | Lawyer |
Anusorn Unno | Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University |
Bencharat Saechua | Lecturer, Mahidol University |
Boonsong Chaisingkananont | University Lecturer |
Ekkarin Tuansiri | Independent Scholar |
Kengkij Kittirianglarp | Academic, Kasetsart University |
Kriangsak Teerakowitkajorn | Lecturer, Thammasat University Lampang Campus |
Naruemon Thabchumpon | University Lecturer |
Pinkaew Laungaramsri | University Lecturer |
Pruek Toatawin | Lecturer, Ubon Ratchathani University |
Somchai Preechasilpakul | Lecturer, Chiangmai Univerisity |
Songyote Waeohongsa | Academic |
Sriprapha Petcharamesree | Centre for human righst studies, Mahidol University |
Suda Rangkuphan (Ph.D.) | University Lecturer |
Thongchai Winichakul (Ph.D.) | Professor in History, University of Wisconsin – Madison |
Ubonrat Siriyuvasak (Ph.D.) | Media Scholar |
Viengrat Nethipo | Academic |
Wanrug Suwanwattana | Lecturer, Faculty of Liberal Arts, Thammasat University |
Yukti Mukdawijitra | Lecturer, Faculty of Sociology and Anthropology,
Thammasat University |
Chaithawat Tulathon | Editorial team, Samesky Book |
Chiranuch Premchaiporn | Media Activist/Journalist |
Chomwan Weeraworawit | Media/writer/phd candidate (law) |
Chutima Somboonsook | Web content editor |
Chuwat Rerksirisuk | Prachatai Editor |
Krittawit Rimtheparthip | Writer/Journalist |
Naulnoi Thammasathien | Freelance journalist |
Nitinan Yorsaengra | Journalist |
Ponglert Pongwanan | Prachatai |
Pravit Rojanaphruk | Journalist |
Preeyaluck Boonman | Reporter |
Suriya Garudabandhu | Magazine editorial team |
Thaweeporn Kummetha | Correspondent |
Thida Plitpholkarnpim | Writer/Journalist |
Aphiwat Saengphatthaseema | Architect/Independent filmmaker |
Apirux Wanasathop | Engineer |
Benchamas Winichakul | Architect |
Chokchai Vityathong | Engineer |
Paramat Changsupan | Civil Engineer |
Students | |
Chatri Somnug | Postgraduate student, Thammasat University |
Chayawan Thepchatri | Postgraduate Student |
Chethapong Jongpattranitchapun | Postgraduate Student, Thammasat University |
Komluck Chaiya | Student, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University |
Napud Sasien | Student |
Nithiwat Wannasiri | Student |
Noppon Archamas | Postgraduate Student, Chiangmai University |
Panpoom Phudphong | Student, Chulalongkorn University |
Phuttipong Ponganekgul | Student, Ramkhamhaeng University |
Pichate Yingkiattikun | Postgraduate student, Chulalongkorn Universitiy/Thai Netizen Network |
Prab Laoharojanaphan | Student, Thammasat University |
Prach Panchakunathorn | Student in PPE, University of Oxford |
Prechapol Chouchaimomkong | Student Activist |
Prin Tepnarin | Postgraduate student, Thammasat University |
Tewson Seeoun | Postgraduate Student |
Thanaphong Muensaen | Student Activist |
Thanavi Chotpradit | Department of History of Art and Screen Media, Birkbeck, University of London |
Apirat Boonruangthaworn | Designer |
Chaisiri Jiwarangsan | Artist |
Neti Wichiansaen | Photographer |
Nunthapol Ajawakom | Freelance Videographer, Video Editor |
Omkwan Wechayachai | Children’s Book Illustrator |
Panu Boonpipattanapong | Freelance Writer&Designer |
Piyarat Piyapongwiwat | Visual Artist |
Sarawut Darunwat | Freelance designer/University lecturer |
Subhavuddhi Srimaharaja | Music Educator |
Teerakit Vichitanankul | Photographer |
Tharanya Suttabusya | Critic |
Achara Ingkamaratorn | Citizen |
Anyakan Jeeraanyakan | Business owner, freelance designer & writer |
Ariya Pacharawan | Reader |
Athikom Jeerapairotekun | Employee |
Chirayuth Konghin | Cabin Crew |
Chompot Kasemrungchaikit | Entrepreneur |
Chonrat Ketkowit | Citizen |
Daranee Charnchoengsilpakul | Political prisoner of Article 112 |
Jakkrapan Borirak | Radio broadcaster |
Kittika Boonmachai | Civil official |
Nach Naiyanan | Freelance |
Neeranuch Neamsab | Citizen |
Nipon Phadungsilppairoj | Business Owner |
Panlop Kemapakkapong | Businessman |
Pornthep Sa-nguanthoy | Freelance |
Punsak Srithep | Citizen |
Santanee Boonchoichoo | Housewife |
Sarayut tangprasert | Citizen |
Supakit SungSak | Unemployed |
Takwang Sukkasem | Freelance |
Tewarit Maneechay | Citizen |
Unchalee Maneeroj | Citizen |
Watinee Chaithirasakul | Freelance |
Wipawadee Punyangnoi | Citizen |
Wuttikorn Sangrungruang | Citizen |
Arachapon Nimitkulpon | Human rights activist |
Baramee Chaiyarat | NGO Worker |
Chaiwat Trakarnratsanti | Social Move Assembly |
Ekachai Pinkaew | Human Rights Defender, Writer, Ph.D Candidate |
Jon Ungphakorn | Social Activist |
Junya Yimprasert | Action for People’s Democracy in Thailand |
Korn-Uma Pongnoi | Ruk Tongtin Bonok-Kuiburi Group |
Kwanravee Wangudom | Human rights activist |
Patcharee Sae-eaw | Advocacy officer in NGO |
Pimsiri Petchnamrob | NGO Worker |
Pokpong Lawansiri | Human Rights Defender |
Pornpen Khongkachonkiet | Human rights activist |
Pornpit Puckmai | Human Rights Defender |
Rodjaraeg Wattanapanit | NGO Worker |
Sarawut Pratoomraj | International Commission of Jurists |
Sutharee Wannasiri | Human rights activist |
Theeraphon Khoomsap | Activist trainee |
Vasan Phanich | Chair of the Human Rights Committee, Lawyer Society of Thailand; former National Human Rights Commissioner |
Yingcheep Atchanont | NGO Worker |
Andrew Walker (Ph.D.) | Senior Fellow, College of Asia and the Pacific, The Australian National University |
Charles Keyes | Professor of Anthropology, University of Washington |
C.J. Hinke | Freedom Against Censorship Thailand (FACT) |
Craig J. Reynolds (Prof.) | Academic |
David Streckfuss | Independent Scholar |
Eva Hansson | PhD, Senior Lecturer, Department of Political Science, Stockholm University, Sweden |
Jim Taylor (Ph.D.) | Senior Lecturer in Anthropology,
Discipline of Anthropology & Development Studies, The University of Adelaide, Australia |
Kevin Hewison | Professor and Director, Carolina Asia Center, UNC-Chapel Hill |
Michael K. Connors | School of Social Sciences, La Trobe University |
Michael Montesano | Reseach Fellow, Institute of Southeast Asian Studies |
Rachel V. Harrison (Ph.D.) | Reader in Thai Cultural Studies, SOAS, University of London |
Tyrell Haberkorn | Research Fellow, Political and Social Change, The Australian National University |
[…] noted the Article 112 awareness campaign in a recent post. In a Prachatai story, some “35 democratic groups in Thailand and abroad have aggregated to […]
[…] was also one of the brave few who signed up for the Article 112 Awareness Campaign in […]
[…] was also one of the brave few who signed up for the Article 112 Awareness Campaign in […]